การทำงานของตัวไดโอด

สสารกึ่งตัวนำเป็นสารที่มีสมบัติการนำไฟฟ้าอยู่ระหว่างตัวนำกับฉนวน เช่น ซิลิคอน และเยอร์มาเนียม

ชนิดของสารกึ่งตัวนำชนิดพี(P-type)

เกิดจากการเอาธาตุเยอร์มาเนียมมาผสมกัยธาตุโปรอนในอัตราส่วนที่เหมาะสมทำเยอร์มาเนียมมีอิเลคตรอนหายไป 1 ตัวโดยเข้าไปอยู่ในโปรอน ทำให้เกิดโฮล เป็นผลทำให้อิเลคตรอนน้อยกว่าประจุอยู่ 1ตัว สารกึ่งตัวนำชนิดพีจึงมีประจุไฟฟ้าบวก

ชนิดของสารกึ่งตัวนำชนิดเอ็น(N-type)

เกิดจากการเอาธาตุเยอร์มาเนียมมาผสมกับสารหนูในอัตราส่วนที่เหมาะสมทำให้เยอร์มาเนียมเกินมา 1 ตัวเรียกว่า อิเลคตรอนอิสระ ซึ่งสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระในผลึกนั้นจึงยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน

ไดโอด(Diode ) เป็นการนำผลึกของสารกึ่งตัวนำชนิดพีและชนิดเอ็น(P-typeและN-type) มาต่อเชื่อมกันให้ติด ซึ่งจะเกิดแนวรอยต่อ (Junction) ซึ่งใช้เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนไดโอดดังรูปด้านล่าง

 

Next